ไม่ว่าประเทศใดในโลกที่มีกิจการลูกเสือของตน จะมีการแบ่งประเภทเอาไว้เพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์ หลักการ และวิธีการขององค์การลูกเสือโลก ซึ่งบางอยางอาจถูกปรับเปลี่ยนไปบางตามลักษณะสังคม วัฒนธรรม ของแต่ละประเทศ แต่โดยภาพรวมแล้วจะแบ่งประเภทลูกเสือตามเกณฑ์อายุ ด้วยการที่คำนึงถึงพัฒนาการทางรางกาย และจิตใจของเด็กเป็นพื้นฐานในการฝึกอบรม เพื่อไม่ให้ฝืนธรรมชาติของเด็ก ซึ่งสามารถทำให้เด็กพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ โดยมากแล้วทั่วโลกจะมีการแบงประเภทลูกเสือเป็น 2 แบบใหญ่ คือแบบอังกฤษ ซึ่งถือเอาฃแบบแผนตามที่ BP เคยปฏิบัติเอาไว้ กับแบบอเมริกา ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนไปเล็กน้อย
สำหรับประเทศไทยนั้นยึดถือตามแบบอังกฤษ คือ
1. ลูกเสือสำรอง เนตรนารีสำรอง
2. ลกเสือสามัญ เนตรนารีสามัญ
3. ลกเสอสามัญรุ่นใหญ่ เนตรนารีสามัญรุ่นใหญ่
4. ลูกเสือวิสามัญ เนตรนารีวิสามัญ
แต่ที่พิเศษประเทศไทยเป็นประเทศเดียวในโลกที่มี ลูกเสือชาวบ้าน
1. ลูกเสือสำรอง เนตรนารีสำรอง
2. ลกเสือสามัญ เนตรนารีสามัญ
3. ลกเสอสามัญรุ่นใหญ่ เนตรนารีสามัญรุ่นใหญ่
4. ลูกเสือวิสามัญ เนตรนารีวิสามัญ
แต่ที่พิเศษประเทศไทยเป็นประเทศเดียวในโลกที่มี ลูกเสือชาวบ้าน
หมายเหตุ
* การกล่าวถึงลูกเสือประเภทต่างๆนั้น จะหมายรวมเอาเนตรนารีเข้าไปด้วย เพราะเนตรนารีได้ถูกระบุตามกฎหมายว่าเป็น ลูกเสือหญิง (เด็กนักเรียนหญิงที่มีชั้นปีการศึกษาและอายุตามเกณฑ์ในการเป็นลูกเสือ) จะต่างกันที่เครื่องแบบ และวิชาการฝึกบางวิชาเท่านั้น
* ลูกเสือหญิง ที่แท้จริงแล้วคือระดับผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ที่ต้องผ่านการฝึกอบรมตามขั้นตอน สวนมากเป็นคร, อาจารย์ของโรงเรียนที่มีกองลูกเสือตั้งอยู่ หรือบุคคลภายนอก (ประชาชนที่สนใจ) ที่เข้ารับการอบรมเพื่อเป็นเจ้าหน้าที่ลูกเสือ ด้วยการสมัครจนผ่านการอบรม จากนั้นจึงจะได้การรับรองโดยคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ เครื่องแบบของลูกเสือหญิงนี้จึงเหมือนกับลูกเสือทุกประการ ยกเว้นกระโปรง ถุงเท้า ฯลฯ ที่สวมใส่ได้เฉพาะผู้หญิงเท่านั้น
* การกล่าวถึงลูกเสือประเภทต่างๆนั้น จะหมายรวมเอาเนตรนารีเข้าไปด้วย เพราะเนตรนารีได้ถูกระบุตามกฎหมายว่าเป็น ลูกเสือหญิง (เด็กนักเรียนหญิงที่มีชั้นปีการศึกษาและอายุตามเกณฑ์ในการเป็นลูกเสือ) จะต่างกันที่เครื่องแบบ และวิชาการฝึกบางวิชาเท่านั้น
* ลูกเสือหญิง ที่แท้จริงแล้วคือระดับผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ที่ต้องผ่านการฝึกอบรมตามขั้นตอน สวนมากเป็นคร, อาจารย์ของโรงเรียนที่มีกองลูกเสือตั้งอยู่ หรือบุคคลภายนอก (ประชาชนที่สนใจ) ที่เข้ารับการอบรมเพื่อเป็นเจ้าหน้าที่ลูกเสือ ด้วยการสมัครจนผ่านการอบรม จากนั้นจึงจะได้การรับรองโดยคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ เครื่องแบบของลูกเสือหญิงนี้จึงเหมือนกับลูกเสือทุกประการ ยกเว้นกระโปรง ถุงเท้า ฯลฯ ที่สวมใส่ได้เฉพาะผู้หญิงเท่านั้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น